ทะเบียนพรรณไม้และภาพถ่ายพรรณไม้
|
 |
มะม่วง
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ (สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ มะม่วง รหัสพรรณไม้
7-30330-002-001/30 มะม่วงมีลักษณะวิสัยเป็นไม้ต้น
เรือนยอดพุ่มเป็นรูปร่มอาศัยอยู่บนบก ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาล แตกเป็นเส้น มียางสีขาวขุ่น เป็นใบเดี่ยวสีเขียว
การเรียงตัวของใบ พ้นกิ่งเป็นวงรอบรูปร่างแผ่นใบรูปขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลมโคนใบมน
ขอบใบเรียบ มีดอกเป็นช่อกระจุกแยกแขนง มีดอกที่ปลายยอด กลีบเลี้ยงเป็นโคนเชื่อมติดกัน
มีกลิ่นหอมเป็นผลสดเมล็ดเดียวแข็ง ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีเหลือง |
มะขาม
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ (สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย) ชื่อพันธุ์ไม้ มะขาม รหัสพรรณไม้7-30330-002/13 ลักษณะพรรณไม้ มะขามมีลักษณะวิสัยเป็นไม้ต้น เรือนยอดทรงพุ่มรูปไข่ ความสูง 10 ม. ความกว้างทรงพุ่ม 5 ม.
ถิ่นอาศัยเป็นพืชที่อยู่บนบก
มีลำต้นเหนือดิน
สามารถตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาลอมดำ
ลักษณะผิวแตกเป็นสะเก็ด
ไม่มียาง ชนิดของใบเป็นใบแบบขนนกปลายคู่สีเขียว
ขนาดใบกว้าง 0.5 ซ.ม.
ยาว 1.7 ซ.ม.
ลักษณะพิเศษของใบเว้าบุ๋ม
โคนใบมน ขอบใบเรียบ ชนิดของช่อดอกเป็นแบบดอกเดียว ตำแหน่งที่ออกดอกคือ ซอกใบ กลีบดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก
สีเหลือง รูปากเปิด เกสรตัวผู้ มีจำนวน 3 อัน สีเขียวน้ำตาล ลักษณ์เป็นเส้นยาว ยาวประมาณ 0.5 ซ.ม. เกสรเพศเมีย
มีจำนวน 1 อัน
สีเขียว ลักษณะเป็นเส้นยาวประมาณ 0.5 ซ.ม. รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ชนิดของผลสุกและแห้งแก่แล้วแตก ลักษณะผลเป็นฝักหักข้อ
|
ชบา
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า
1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพันธุ์ไม้ ชบา รหัสพรรณไม้7-30330-002-004/3
ชบา
ลักษณะวิสัยไม้พุ่ม เรือนยอดทรงพุ่มรูปร่าง ความสูง 2.50 mถิ่นอาศัยพืชบก ลำต้นเหนือตั้งเองได้
เปลือกลำต้นสีเขียวด่างไม่มียาง ชนิดของใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียวแก่ขนาดแผนกว้าง 6
cm ยาว 9.9 cm ลักษณะพิเศษของใบ คือ ใบหยัก
หน้าใบสีเขียวเข้ม การเรียงตัวของใบตรงข้ามสลับตั้งฉาก
รูปร่างแผ่นใบลักษณะอื่นๆปลายใบอื่นๆ โคลนใบอื่นๆ ของใบจักฟันเลื่อย ดอกเดี่ยว
ตำแหน่งที่ออกปลายยอด กลีบเลี้ยงโคลนเชื่อมติดกันปลายแยกเป็น
5 แฉก สีเขียว กลีบดอกแยกจากกัน 5 กลีบ
สีแดงเกสรเพศผู้ 4 อัน เพศเมีย 1 อัน
ไม่มีกลิ่น
|
เข็มแดง
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพันธุ์ไม้ เข็มแดง รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-005/7
ข้อมูลพรรณไม้เข็มมีลักษณะเป็นรูปไม้พุ่ม
เรือนยอดรูปทรงกระบอก ความสูง 0.06 กว้าง 0.55 ถิ่นอาศัยพืชบก ลำต้นเหนือดินตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นมีสีเขียวปนเทา มีลักษณะเรียบไม่มียาง ชนิดของใบ เป็นใบประกอบมีสีเขียว
ขนาดแผ่นใบกว้าง 1.02 ซม. ยาว 4
ซม. จำนวนใบย่อย (กรณีเป็นใบประกอบ)10ใบ ลักษณะพิเศษของใบใบเรียบมันวาว การเรียงตัวของใบตรงข้ามสลับตั้งฉาก
รูปร่างแผ่นใบเป็นรูปขอบขนานมีปลายใบแหลม โคนใบตัดขอบใบเรียบ
ชนิดของดอกเป็นดอกช่อชี้ร่ม ออกดอกที่ปลาย
กลีบเลี้ยงแยกออกจากกันมีจำนวน 4 กลีบ
มีสีแดงปนเขียวโคนเชื่อมติดกันแยกเป็น 4 แฉกมีสีเขียว
แยกออกจากกันมี 4 กลีบ
มีสีส้มแดงมีรูปกากบาทโคนเชื่อมแยกออกจากกัน มีสีส้มแดง
รูปกากบาทโคนเชื่อมติดกันปลายแยกออกจากกันเป็น4 แฉกมีสีเขียว
เกสรเพศผู้มีจำนวน 2 อัน มีสีเหลือง เกสรเพศเมีย มีจำนวน
1 อัน ลักษณะเรียวยาว รังไข่เหนือวงกลีบไม่มีกลิ่น
ชนิดของผลมีผลเดียว ผลสดผลแบบส้ม สีของผลมีสีเขียวแก่ จำนวนเมล็ด 3 สี
สีของเมล็ดสีน้ำตาลปนเทารูปร่างเมล็ดมีลักษณะกลม
|
เฟื้องฟ้า
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ (สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า
2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย) ชื่อพันธุ์ไม้ เฟื้องฟ้า รหัสพรรณไม้
7-30330-002-008/38 เฟื้องฟ้ามีลักษณะวิสัยเป็นไม้พุ่ม
เรือนยอดทรงพุ่มเหมือนร่ม
อาศัยอยู่บนบกลำต้นเหนือดินตั้งตรงเองได้เปลือกลำต้นสีน้ำตาล
ลักษณะขรุขระมีหนามไม่มียางใบสีเขียว ขนาดแผ่นใบยอมกว้าง 5.5 ซม. ยาว 9 ซม. การเรียงตัวของใบของกิ่งเป็นแบบเวียน รูปร่างแผ่นใบเป็นรูปหัวใจ ปลายใบเป็นเรียวแหลมโคนใบเป็นมน
|
ลีลาวดี
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพันธุ์ไม้ ลีลาวดี รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-009/8
ข้อมูลพรรณไม้ลักษณะวิสัยของลีลาวดีเป็นไม้ต้น มีถิ่นอาศัยเป็นพืชบก ลำต้นเหนือดิน
ตั้งตรงเองได้ เปลือกลำต้นมีลักษณะเป็นผิวขรุขระ ยางมีสีขาวขุ่น ใบเป็นใบเดี่ยว การเรียงตัวของใบบนกิ่ง สลับกัน
รูปร่างของแผ่นใบ
รูปใบหอกกลับ ปลายใบมน โคนใบเป็นรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ
ชนิดของดอกเป็นดอกช่อซี่ร่ม
ออกดอกที่ปลายยอด กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก
มีสีขาวเหลือง ผลเดี่ยว ผลสด
ผลมีเนื้อหนึ่ง
ผลแห้งแก่แล้วแตกฝักแบบถั่ว
สีของผล ผลสีเขียวเข้ม
ผลแก่สีน้ำตาล รูปร่างผลทรงกลมยาว ปลายเรียวแหลม ลักษณะพิเศษของผลแยกออกจากกันตรงข้าม
จำนวนเมล็ด 10 เมล็ดต่อฝัก
สีของเมล็ดสีน้ำตาล รูปร่างเมล็ด เมล็ดแบนมีปีกบางๆ ปีกเดียว
|
ชงโค,เสี้ยวดอกขาว
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ ชงโค,เสี้ยวดอกขาว รหัสพรรณไม้
7-30330-002-010/14
ลักษณะวิสัยเป็นไม้พุ่ม
เรือนยอดทรงพุ่ม เป็นรูปร่มมีความสูง 1.5 เมตร มีความกว้างทรงพุ่ม 2 เมตร เป็นพื้นบก
ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้ เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาล ลักษณะแตกเป็นสะเก็ด ไม่มียาง
ใบเป็นแบบขนนกสามชั้น สีเขียว ขนาดแผ่นใบกว้าง 8.3 เมตร ยาว 8.9
เมตร มีลักษณะคล้ายปีกของผีเสื้อ การเรียงตัวของใบ
แบบสลับรูปร่างแผ่นใบมีหัวใจกลับ แหลมปลายใบ โคนใบมีลักษณะคล้ายรูปหัวใจ ขอบใบเป็นคลื่นดอก เป็นดอกเดียว กลีบดอกแยกเป็นแฉก
ดอกออกตามซอกใบ กิ่ง ก้าน โคน เชื่อมกันมีสีน้ำตาล กลีบดอกสีชมพู ไม่มีกลิ่น
ออกผลเดียว ผลอ่อนแก่มีลักษณะแข็ง เมล็ดเป็นทรงคล้ายถั่ว สีของผลมีผลอ่อนสี เขียว
ผลแก่สีน้ำตาลรูปร่างยาว เมื่อแก่ผลจะแห้งรีบมีขนเส้นเล็กๆ
|
ประดู่ป่า
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพันธุ์ไม้ ประดู่ป่า รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-011/57
ลักษณะวิสัย
เป็นไม้พุ่มเรือนยอดทรงพุ่มรูปไข่ถิ่นอาศัยพืชบกลำต้นเหนือดินตั้งตรงเองได้รูปร่างแผ่นใบรูปรีปลายใบแหลมโคนใบรูปลิ่มขอบใบเรียบเปลือกต้นสีน้ำตาลอ่อนยางไม่มีใบชนิดใบเดี่ยวสีเขียวเข้มขนาดแผ่นใบกว้าง
5.5ซ.ม ยาว 9.3ซ.ม จำนวนใบย่อ7ใบ
ขนาดแผ่นใบย่อยกว้าง 3.5ซ.ม ยาว
7.00 ซ.มการเรียงตัวของใบบนกิ่งสลับกัน |
ดีปลี
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ ดีปลี รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-012/5
ดีปลีมีลักษณะวิสัยเป็นไม้ต้นอาศัยอยู่บนบก
ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองไม่ได้ ใช้ลำต้นเกี่ยวพัน
เปลือกลำต้นเรียบมีสีเขียวไม่มียาง เป็นใบเดี่ยวสีเขียว การเรียงตัวของใบ
ใบสลับกัน เรือนยอดทรงพุ่ม เป็นรูปไข่ รูปร่างแผ่นใบเป็นรูปใบหอก ปลายใบเรียวแหลม
โคนใบเขียว ขอบใบเรียบ เป็นดอกเดี่ยว ดอกออกที่ซอกใบ กลีบดอกโคนเชื่อมติดกัน
ดอกแยกออกเป็นแฉก เป็นดอกสีขาว รูประฆัง ไม่มีกลิ่น ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีแดง |
ตีนเป็ด,พญาสัตบรรณ
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพันธุ์ไม้ ตีนเป็ด,พญาสัตบรรณ รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-013/11
ข้อมูลพรรณไม้ ตีนเป็ดเป็นไม้ต้น เรือนยอดทรงพุ่มเป็นรูปไข่เป็นพืชบก ลำต้นเหนือดิน
ตั้งต้นได้เองและมีเปลือกลำต้นสีน้ำตาลขาว
มียางสีขาวขุ่น
ใบเป็นใบเดี่ยวสีเขียว
มีการเรียงตัวของใบบนกิ่งเป็นวนรอบ รูปร่างแผ่นรูปขอบขนาน ปลายใบมน
โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ มีดอกเป็นช่อ
ตำแหน่งที่ออกดอกอยู่ที่ซอกใบ มีผลสดสีเขียว ผลอ่อนสีเขียวและผลแก่สีเขียว |
อัญชัน
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ อัญชัน รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-014/3
อัญชันเป็นไม้เลื้อยมีเรือนยอดทรงพุ่มเป็นรูปไข่
เป็นพืชชนิดบก ลำต้นเหนือดิน ตั้งต้นเองไม่ได้ ใช้ลำต้นเกี่ยวพัน
เปลือกลำต้นสีเขียว ไม่มียาง ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว สีเขียว จำนวนใบย่อยมี 5 ใบ
ขนาดแผ่นใบกว้าง 3 เซนติเมตร ยาว 4.5 เซนติเมตร
การเรียงตัวของใบ บนกิ่งสลับระนาบเดียวรูปร่างแผ่นใบ เป็นรูปรี ปลายใบมน โคนใบมน
ขอบใบเรียบ มีดอกเดียว ออกดอกตามซอกกิ่ง กลีบดอกแยกจากกัน มีจำนวน 5 กลีบ รูปดอกถั่ว ผลแห้ง ฝักแบบถั่ว ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีน้ำตาล |
เพกา
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า
2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ เพกา รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-015/19
ลักษณะวิสัยเป็นไม้ต้น
เรือนยอดทรงพุ่มรูปร่ม ถิ่นอาศัยอยู่บนบก ลำต้นเหนือดินตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นสีเทาลักษณะของผิวลำต้นเรียบ ไม่มียาง
ลักษณะของใบประกอบแบบขนนกสามชั้นขอบใบเรียบรูปร่างแผ่นใบเป็นรูปรี ปลายใบเรียวแหลม
โคนใบมน ออกดอกเป็นช่อออกดอกตรงปลายยอดลักษณะของดอกเป็นช่อกระจะ
แต่ละช่อมีดอกย่อย 20-35 ดอก ออกดอกที่ปลายยอด
กลีบเลี้ยงโดนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกโคนเชื่อมติดกันรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 แฉก
มีสี ชนิดของผลเป็นผลเดี่ยว เป็นฝักรูปดาบ ผลมีหลายเมล็ด ผลแห้งแก่แข็ง
แตกแบบผักกาด เมล็ดแบนมีสีขาว มีปีกบางโป่งแสง |
มะหวด
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ มะหวด รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-016/5
มะหวดลักษณะวิสัยเป็นไม้ต้น เรือนยอดทรงพุ่มเป็นรูปร่างอาศัยอยู่บนบก ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้เปลือกลำต้น เป็นสีน้ำตาล – แดง ไม่มียาง ใบเดี่ยว สีเขียว
กว้างประมาณ 11 เซนติเมตร ยาวประมาณ
24 เซนติเมตร การเรียงตัวของใบบนกิ่ง
แบบตรงข้ามรูปร่างแผ่นใบเป็นรูปวงรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ มีดอกเป็นช่อ
ดอกเป็นช่อเชิงลด ออกดอกที่ปลายยอด กลีบเลี้ยงเชื่อมโคนติดกัน
มีลักษณะผลเดียวมีเมล็ดเดียวแข็ง ผลแห้งแก่แล้วไม่แตก ผลอ่อนสีแดง ผลแก่สีดำ
เมล็ดกลมรี
|
ปาล์มน้ำมัน
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ ปาล์มน้ำมัน รหัสพรรณไม้
7-30330-002-017/6
ปาล์มน้ำมันมีลักษณะวิสัยเป็นปาล์มเรือนยอดทรงพุ่มรูปกรวย
ถิ่นอาศัยพืชบก ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้ เปลือกลำต้นสีน้ำตาลดำ ลักษณะขรุขระ
ไม่มียาง ชนิดของใบ ใบประกอบสีเขียวจำนวนใบย่อย 260
ใบ ขนาดแผ่นใบกว้าง 5.5 ซม.กว้าง
78 ซม. ลักษณะพิเศษใบเรียวแหลมคล้ายใบมะพร้าว
การเรียงตัวของใบบนกิ่งตรงข้ามกัน รูปร่างแผ่นใบรูปลิ่มแคบปลายใบแหลมเข็มมีรยางค์แข้ง
โคนใบรูปลิ่มมนขอบใบเรียบ ชนิดของช่อดอกดอกช่อ แบบหางกระรอกออกดอกซอกใบ
ชนิดของผลเป็นชื่อเรียกว่าทะลาย ผลอ่อนสี สีของผลสีเขียวผลแก่สีส้มอมน้ำตาล รูปร่างผลมีหลายแบบตั้งแต่รูปเรียวแหลมจนถึงรูปไข่
หรือรูปยาวลี เปลือกมีลักษณะเป็นเส้นใย เมล็ดจำนวน 1 เมล็ด
สีของเมล็ดสีดำ รูปร่างเมล็ดโคนเล็กรูปวงลี ปลายบนสีดำ ฝักเป็นลายเส้นตามยาว
เมล็ดแห้งเป็นกะลา
|
ปีบ,กาซะลอง
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า
2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ ปีบ,กาซะลอง รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-018/5
ปีบมีลักษณะนิสัยเป็นไม้ต้น เรือนยอดทรงพุ่มรูปไข่ เป็นพืชบก ลำต้นสามารถตั้งตรงเองได้
ส่วนเปลือกลำต้นเป็นสีน้ำตาล แตกเป็นสะเก็ด ไม่มียาง
ลักษณะของใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสามชั้น สีของใบมีสีเขียวเข้ม
ส่วนการเรียงตัวของใบบนกิ่งเป็นแบบตรงข้าม รูปร่างแผ่นใบเป็นรูปไข่
รูปลิ่มขอบใบหยักไม่เป็นระเบียบ ออกดอกเป็นช่อลักษณะเป็นช่อกระจะ
ปีบออกดอกที่ปลายยอด กลีบแยกออกจากกัน มี5 กลีบ มีสีขาวขุ่น
โคนเชื่อมติดต่อกันเกสรตัวผู้มีมี่อันมีสีเหลือง
เกสรตัวเมียเป็นแบบรังไข่ใต้วงกลีบมีกลิ่นหอม ลักษณะของผลเป็นผลเดี่ยว
ผลอ่อนมีสีเขียวแก่ ส่วนผลแก่มีสีน้ำตาล รูปร่างขนาดของผลแบนยาว จำนวนเมล็ด มี 3-5 เมล็ด เมล็ดมีสีเขียว
|
อโศกอินเดีย
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ อโศกอินเดีย รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-019/6
อโศกอินเดียมีลักษณะวิสัยเป็นไม้ต้น
เรือนยอดทรงพุ่ม รูปกรวยถิ่นอาศัยอยู่บนบก ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาล – เทา ไม่มียาง ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว สีเขียวแก่แผ่นใบรูปหอก
ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเป็นรูปลิ่ม ขอบใบเป็นคลื่น ไม่มีดอก ไม่มีผล
|
ไผ่น้ำเต้า
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า
2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพันธุ์ไม้ ไผ่น้ำเต้า รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-020/6
ไผ่น้ำเต้ามีลักษณะทรงพุ่มเป็นรูปไข่มีความสูง
7.04
และความกว้างทรงพุ่งคือ 1.12 ลำต้นเหนือดินตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นสีเขียวปนเหลืองมีลักษณะแตกเป็นข้อปล้องไม่มียาง
ชนิดของใบเป็นใบเดี่ยวสีเขียวเข้มขนาดของใบจะมีความกว้าง 2.02 ซม. ส่วนความยาวจะมีความยาว 13.5 ซม. ส่วนของลักษณะพิเศษของมันจะมีลักษณะรุปลิ่มแคบ
ปลายใบเลียงยาวโคลนของใบจะมีลักษณะตัด ของใบจะเรียบ
|
ชมพู่น้ำดอกไม้
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพันธุ์ไม้ ชมพู่น้ำดอกไม้ รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-021/1
ชมพู่น้ำดอกไม้เป็นไม้ต้นมีเรือนยอดทรงพุ่มรูปร่ม เป็นพืชบก ลำต้นเหนือดินตั้งตรงเองได้ เปลือกลำต้นสีน้ำตาลดำ เรียบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง
เป็นแบบตรงข้าม รูปร่างแผ่นใบ
เป็นรูปหอก ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ ดอกเป็นช่อ ออกดอกตามซอกใบ ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีชมพูแกมม่วง
|
ไทรทอง
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพันธุ์ไม้
ไทรทอง รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-031/15
ลักษณะวิสัยเป็นไม้พุ่ม เรือนยอด
ทรงพุ่ม รูปร่ม ความสูง 1.40 ม. กว้าง 1.7 ม. ถิ่นอาศัยบนบก
ลำต้นเหนือดินตั้งตรงเองได้ เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาล เขียว มีลักษณะขรุขระยาว
เป็นสีขาวขุ่น
ชนิดของไม้เป็นใบเดี่ยว ผิวมัน
มีสีเขียว ขนาดเส้นใบ กว้าง 3.8 ซ.ม.
ยาว 7.6 ซ.ม. ลักษณะพิเศษของใบ มันวาว สีเขียวอมเหลือง การเรียงตัวกัน
เรียงแบบสรุปรูปร่าง แผ่นใบเป็นรูปวงรี ปลายใบเรียงแหลม โดยใบมน
|
โกสน
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า
2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ โกสน รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-023/11
โกสนมีลักษณะนิสันเป็นไม้พุ่มเรือนยอดทรงพุ่มเป็นรูปกรวยถิ่นอาศัยอยู่บนบกลำต้นอยู่เหนือดินมีสีของลำต้นคือสีน้ำตาลลักษณะแตกเป็นเส้นเป็นใบเดี่ยว
ใบมี 3 สี คือ เขียวอ่อน เขียวแก่ และสีเหลือง
ขนาดของใบโกสน กว้าง 2 ซม.
ยาว 13.2 ซม. มีลักษณะพิเศษ คือ มีสีปะปนกันในใบเดียวกัน
การเรียงตัวของใบบนกิ่งโกสนเรียงต้นเป็นเวียน
รูปร่างของโกสนจะเป็นรูปเข็มปลายใบเรียวแหลมโคนใบจะมีลักษณะเป็นรูปร่างลิ้มขอบใบจะเรียบ
โกสนจะไม่มีดอก ไม่มีกลีบเลี้ยง ไม่มีเกลีบดอก ไม่มีเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย
ไม่มีผลและไม่มีกลิ่น
|
พลับพลึง
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า
2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ พลับพลึง รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-024/4
พลับพลึงมีลักษณะวิสัยเป็นไม้พุ่ม
เรือนยอด ทรงพุ่มรูปร่ม ถิ่นอาศัย พืชบก ลำต้นเหนือดินแบบทอดนอน เปลือกต้นวีน้ำตาล
ลักษณะขรุขระ ไม่มียาง เป็นพืชใบเดี่ยว สีเขียวเข้ม ขนาดแผ่นใบกว้าง 0.04 เมตร ยาว 0.95 เมตร ลักษณะพิเศษโคนใบสีเหลือง ใบยาว
หน้าใบสีเขียวเข้ม หลังใบสีเขียวเหลืองการเรียงตัวของใบแบบเวียน
รูปร่างใบรูปแถบปลาบใบเรียวแหลม โคนใบเป็นใบสี่เหลี่ยมใบเรียว ไม่มีดอก มีกลิ่น
|
ไทรย้อย
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า
2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ ไทรย้อย รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-025/1
ไทรย้อยมีลักษณะวิสัยเป็นไม้ต้น มีเรือนยอดทรงพุ่มเป็นรูปร่ม เป็นพืชบก
ลำต้นเหนือดินตั้งต้นได้เอง เปลือกลำต้นสีน้ำตาลเรียบ เป็นใบเดี่ยวสีเขียว
การเรียงตัวของใบบนกิ่งแบบเรียบ รูปร่างแผ่นใบ เป็นรูปไข่กลับปลายใบเรียวแหลม
โคนใบมน ขอบใบเรียบ ดอกเดี่ยว
ออกดอกตามลำต้นหรือกิ่ง ผลอ่อนสีเหลือง ผลแก่สีน้ำตาลอมแดง
|
ตะโกนา
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ ตะโกนา รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-006/5
ตะโกนามีลักษณะวิสัยเป็นไม้ยืนต้น
เรือนยอดทรงพุ่ม รูปร่างร่ม อาศัยอยู่บนบก ลำต้นเหนือดินตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาลขรุขระ ไม่มียาง ชนิดของใบ เป็นใบเดียวมีสีเขียว
การเรียงตัวของใบ บนกิ่งสลับระนาบเดียวรูปร่างแผ่นใบเป็นรูปรี ปลายใบแหลม
โคนใบเป็นแบบก้นปิดของใบเรียบ
|
หมากนวล
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ หมากนวล รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-027/11
หมากนวลมีลักษณะวิสัยเป็นปาล์ม เรือนยอดเป็นรูปร่ม ถิ่นอาศัยเป็นพืชบก
ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้ เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาลอมเทา ลักษณะแตกเป็นเส้น ไม่มียาง เป็นประเภทใบเดี่ยว
สีเขียวเข้ม ขนาดแผ่นใบกว้าง 45 เซนติเมตร ยาว 142 เซนติเมตร มีจำนวนใบย่อย 88
ใบ แผ่นใบย่อยกว้าง 3.2 เซนติเมตร ยาว 49
เซนติเมตร ลักษณะพิเศษ ใบมีสีเขียวเข้ม เรียวยาว
การเรียงตัวเป็นแบบสลับระนาบเดียว ใบเรียวยาวปลายแหลม โคนใบทู่
ขอบใบจะขรุขระเล็กน้อยที่สุด ผลสดเป็นเมล็ดเดียวแข็ง สีทองปนเขียวอ่อนๆนวลๆ ผลแก่มีสีเหลือง ส้ม มีจำนวน 1 เมล็ด สีของเมล็ด ข้างในเป็นสีขาวขุ่นเคลือบด้วยสีส้ม
เมื่อแก่จะมีเปลือกหุ้ม 1 ครั้ง รูปร่างเมล็ดกลมแหลม
|
หมากเหลือง
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ หมากเหลือง รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-028/5
หมากเหลืองมีลักษณะวิสัยคล้ายปาล์ม
เรือนยอดเป็นรูปร่ม อาศัยอยยู่บนบก
ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้เปลือกลำต้นสีน้ำตาลเหลืองปนเขียว
มีลักษณะลำต้นเรียบ ไม่มียาง ประเภทใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ใบมีสีเขียวปลายเหลือง ขนาดแผ่นใบกว้าง 1.5 เซนติเมตร ยาว 65 เซนติเมตร
จำนวนใบย่อย 105 ใบ ขนาดใบย่อยกว้าง 0.21 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร
ลักษณะพิเศษของใบใบย่อยรูปของขนานปลายใบเรียวแหลม
โดยใบรูปลิ่มของใบเรียวแผ่นใบสีเขียวอ่อน กาบใบมีสีเหลือง ชนิดของช่อดอก
ดอกช่อแยกแขนงตำแหน่งที่ออกดอกซอกใบ
การเรียงตัวของใบบนกิ่งเป็นแบบสลับระนาบเดียวผลเปลือกแข็ง เม็ดเดียว
ผลอ่อนสีเขียวอ่อน ผลแก่สีเหลือง รูปร่างคล้ายไข่ไก่มีสีขาวเหลือง
|
ลานป่า
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ ลานป่า รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-029/2
ลานป่ามีลักษณะวิสัยเป็นปาล์ม
เรือนยอดทรงพุ่มแบบรูปร่ม อาศัยอยู่บนบก ลำต้นเหนือดิน สามารถตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาลเข้มไม่มียาง เป็นใบเดี่ยวมีสีเขียวแก่
การเรียงตัวของใบบนกิ่งแบบสลับระนาบเดียว รูปร่างแผ่นใบ แบบรูเงี่ยง ใบหอก
ปลายใบเรียงแหลม โคนใบรอบเรียวขอบใบเป็นแฉก ลักษณะของดอก เป็นแบบช่อกระจุกแยกแขนง
ออกดอกตามลำต้น กลีบเลี้ยงเชื่อมโคนติดกัน ส่วนผลเป็นแบบ ผลเมล็ดเดียวแข็ง
ผลอ่อนมีสีเขียวเข้ม ส่วนผลแก่มีสีดำ ผลออกเป็นพวงขนาดใหญ่
|
รำเพย
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ รำเพย รหัสพรรณไม้
7-30330-002-030/5
ลักษณะวิสัยของรำเพยเป็นไม้ต้น
เรือนยอดทรงพุ่มกลม ถิ่นอาศัยพืชบก ลำต้นเหนือดิน ตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นสีเทา แตกเป็นสะเก็ดมียาง ชนิดของใบเป็นใบเดี่ยวสีเขียว
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง แบบเวียน รูปร่างแผ่นใบรูปใบห่อ ปลายใบแหลม โคนใบเรียว
ขอบใบเรียบตำแหน่งที่ออกดอกปลายยอด กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีสีเขียว กลีบดอกโคนเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย
มีกลิ่น ชนิดของผลเป็นผลเดี่ยว ผลสดเป็นผลเมล็ดเดียวแข็ง ผลแห้งผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว สีของผล
ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีดำ รูปร่างของผลเป็นรูปสี่เหลี่ยม ค่อนข้างกลม ลักษณะพิเศษของผลมีเส้นนูน เป็นแนวยาวเมล็ด 1 เมล็ดสีน้ำตาล
|
กระถินณรงค์
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า
2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพันธุ์ไม้
กระถินณรงค์
รหัสพรรณไม้7-30330-002-031/2
ลักษณะวิสัย
ไม้ต้น เรือนหยด ทรงพุ่มรูปไข่ ถิ่นอาศัยพื้นบก ลำต้นเป็นเป็นลำต้นเหนือดิน
ตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นสีน้ำตาลมีลักษณะขรุขระยางไม่มี ใบชนิดของใบ มีสีเขียว กว้าง 3.5 ซ.ม.
ยาว12 ซ.มจำนวนใบย่อมมี 15 ใบ กว้าง 3 ซ.ม. การเรียงตัวของใบบนกิ่งมีลักษณะสลับกัน รูปร่างแผ่นใบ
รูปของขนาด ปลายมีลักษณะแหลม โคนใบมีลักษณะเป็นรูปสิ่ว
ขอบใบมีลักษณะเรียบ ดอกมีชนิดช่อดอก
เดี่ยวมีลักษณะเหมือนแบบหางกระรอก ตำแหน่งที่ออกดอกออกตามซอกดอก
กลิ่นมีกลิ่นฉุนเล็กน้อยชนิดของผล เป็นผลเดี่ยว ผลแห้ง ผลแห้งแก่แล้วแตก มีฝักแบบถั่ว เมล็ดแบนมีสีดำ มีเยื่อสีเหลืองส้มล้อมรอบเมล็ด
|
ทรงบาดาล
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1 โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ ทรงบาดาล รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-032/2
ทรงบาดาลมีลักษณะวิสัยเป็นไม้ต้น
เป็นพืชบก ลำต้นสามารถตั้งตรงเองได้ เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาลเทา
ผิวของเปลือกมีลักษณะขรุขระ เป็นพืชที่ไม่มียาง ชนิดของใบเป็นใบประกอบ
สีของใบเป็นสีเขียว มีความกว้างประมาณ 3
เซนติเมตร ยาว 6 เซนติเมตร ก้านมีประมาณ 8-10 ใบ ลักษณะของใบ ยาวรีปลาย และโคนใบมีลักษณะมน ขอบใบเรียบ
ดอกมีลักษณะเป็นดอกช่อ เป็นลักษณะของช่อซีร่ม ตำแหน่งที่ออกดอก จะเป็นส่วนปลายยอด
กลีบเลี้ยงจะแตกจากกัน มีจำนวน 5 กลีบ
มีสีเหลืองกลีบดอกแยกจากกันมีลักษณะคล้ายดอกคูณ เกสรเพศผู้มีจำนวน 10 อัน มีสีน้ำตาล เกสรเพศเมียมี 1 อัน ยาวโค้ง สีเขียว
คล้ายเคียวเกี่ยวข้าว ชนิดของผล เป็นฝักหักข้อ
|
โมกมัน
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า
2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพรรณไม้ โมกมัน รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-033/6
ลักษณะวิสัย ไม้ต้น
เรือนยอดทรงพุ่ม เรือนยอดทรงพุ่มรูปไข่ ถิ่นอาศัยเป็นพืชบก
ลำต้นอยู่เหนือดินสามารถตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นเป็นสีน้ำตาลมีลักษณะแตกเป็นสะเก็ด มียางสีขาวขุ่น
ชนิดของใบเป็นแบบขนนกปลายคู่ ใบมีสีเขียวขนาด แผ่นใบกว้าง 4 ซม. ยาว 8 ซม.รูปร่างของแผ่นใบเป็นรูปของขนาดปลายใบเป็นติ่งแหลม
โคนใบมีลักษณะมน ขอบใบเรียบ
|
ข่อย
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
(สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย)
ชื่อพันธุ์ไม้ ข่อย รหัสพรรณไม้ 7-30330-002-034/30
ลักษณะพรรณไม้ต้นข่อย
ใช้เป็นยาบำรุงรักษาฟัน เป็นไม้ยืนต้น อาศัยอยู่บนบก ลำต้นเหนือดิน
สามารถตั้งตรงเองได้ เปลือกของลำต้นมีสีเทา ลำต้นแตกแขนงเป็นเส้น
ชนิดของใบเป็นแบบขนนก ใบมีสีเขียว ขนาดของใบ กว้าง 2 ซม. ยาว 4 ซม. ลักษณะพิเศษของใบ ผิวของใบเมื่อถูกแสง ใบจะมันวาว ใบบนกิ่งเรียงตัวแบบตรงข้าม
รูปร่างของใบเป็นวงรี ปลายใบเป็นวงรี
|
คูณ
|
 |
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ (สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้ตั้งแต่หน้า 2-7 และข้อมูลพื้นบ้านหน้า 1
โดยเขียนเป็นเรียงความบรรยาย) ชื่อพันธุ์ไม้ มะขาม รหัสพรรณไม้ 7-30330-002/13 ลักษณะพรรณไม้ มะขามมีลักษณะวิสัยเป็นไม้ต้น เรือนยอดทรงพุ่มรูปไข่ ความสูง 10 ม. ความกว้างทรงพุ่ม 5 ม.
ถิ่นอาศัยเป็นพืชที่อยู่บนบก
มีลำต้นเหนือดิน
สามารถตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาลอมดำ
ลักษณะผิวแตกเป็นสะเก็ด
ไม่มียาง
ชนิดของใบเป็นใบแบบขนนกปลายคู่สีเขีบว ขนาดใบกว้าง 0.5 ซ.ม. ยาว
1.7 ซ.ม.
ลักษณะพิเศษของใบเว้าบุ๋ม
โคนใบมน ขอบใบเรียบ ชนิดของช่อดอกเป็นแบบดอกเดียว ตำแหน่งที่ออกดอกคือ ซอกใบ กลีบดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก
สีเหลือง รูปากเปิด เกสรตัวผู้ มีจำนวน 3 อัน สีเขียวน้ำตาล ลักษณ้เป็นเส้นยาว ยาวประมาณ 0.5 ซ.ม. เกสรเพศเมีย
มีจำนวน 1 อัน
สีเขียว ลักษณะเป็นเส้นยาวประมาณ 0.5 ซ.ม. รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ชนิดของผลสุกและแห้งแก่แล้วแตก ลักษณะผลเป็นฝักหักข้อ
|